พวงชมพู
ดอกไม้สีชมพูเป็นพวงระย้าดูน่ารัก อ่อนช้อย นั้นคืออีกเหตุผลหนึ่งที่ทำให้พวงชมพู เป็นต้นไม้อีกชนิดที่นิยมปลูกเลี้ยงในบ้าน พวงชมพูเป็นไม้เถาเลื้อย โดยอาศัยมือเกาะ ใบเดี่ยวเรียงสลับกัน มีสัณฐานรูปไข่หรือ รูปสามเหลี่ยมปลายแหลม โคนใบเป็นรูปหัวใจ ขอบเรียบเส้นใบเห็นได้ชัด และออกดอกตลอดทั้งปี
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Antigonon Leptopus. Hook & Arn.
ตระกูล : POLYGONACEAE
ชื่อสามัญ : Coral Vine, Mexican Creeper, Chain of love, Confederate
Vine, Corallita, Hearts on a Chain, Honlulu Creeper
Mountan, Rose, Pink Vine.
พวงชมพู เป็นพืชล้มลุก เป็นไม้เถาเลื้อยที่มีขนาดเล็ก มีมือเกาะสำหรับเกาะพันต้นไม้ หรือกิ่งอื่นเพื่อการทรงตัว และสามารเลื้อยพันสิ่งต่าง ๆ ไปได้ไกลประมาณ 40 ฟุต ลำต้นหรือเถาจะเป็นสีน้ำตาลเข้ม ใบเดี่ยว ดอกออกสลับกันไปตามข้อต้นลักษณะใบเป็นรูปไข่ หรือมนรี ค่อนข้างจะเป็นทรงสามเหลี่ยม ปลายใบแปลม โคนใบมน เว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบใบจักมนไม่แหลม แผ่นใบเป็นคลื่นไม่เรียบ ใบมีความยาว ประมาณ 7 เซนติเมตร และมีความกว้างประมาณ 7 เซนติเมตร พวงชมพูออกดอกเป็นช่อรวมกันเป็นกลุ่มตามซอกใบ ง่ามกิ่งและปลายยอด ส่วนปลายยอดสุดจะเป็นมือเกาะ ดอกสีชมพูสดใสในกลุ่ม ดอกจะประกอบด้วยช่อดอก เรียบดอกสลับทางติดกันอยู่หนาแน่น ลักษณะรูปร่างของดอกมีทรงคล้ายผอบรูปหัวใจ ดอกมีขนาดเล็ก คือ ประมาณ 1 เซนติเมตร ดอกพวงชมพู อาจจะชูเป็นช่อตั้ง หรืออาจจะห้อยเป็นพวงระย้าลงก็ได้ ช่อดอกจะมีความยาวประมาณ 10 -15 เซนติเมตร พวงชมพูเป็นไม้ที่ออกดอกตลอดปี แต่มักจะมีดอกดกมากในฤดูแล้ง คือ ในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน ของทุกปี
การปลูกพวงชมพู
โดยการนำเอากิ่งที่ได้จากการปักชำมาปลูกลง เนื่องจากกิ่งที่ได้จากการปักชำ จะทำให้ได้ต้นกล้าที่เร็วกว่าการเพาะเมล็ด การปลูกก็ให้ปลูกลงดิน เพราะไม้เถาเลื้อยบางชนิดนั้นไม่เหมาะที่จะปลูกลงกระถางสวย ๆ ได้ ควรปลูกพวงชมพูบริเวณริมกำแพง หรือริมรั้ว หรืออาจจะปลูกเป็นซุ้มประตูหรือทำซุ้มหลังคา กระเช้านั่งเล่นภายในบ้านก็จะดูสวยงาม เพราะเมื่อยามที่พวงชมพูออกดอกบานสะพรั่ง มีดอกห้อยเป็นระย้าลงมา ก็จะทำให้ได้ภาพที่น่าชมมากที่เดียว
พวงชมพูเป็นไม้กลางแจ้งที่มีความต้องการแสงแดดมาก เพราะฉะนั้นควรปลูก พวงชมพูในบริเวณที่มีแสงแดดส่องได้ถึง มีความต้องการน้ำปานกลาง การรดน้ำควรรดน้ำวันละ 1 -2 ครั้ง โดยการรดน้ำแต่ละครั้งจะต้องรดให้ชุ่ม แต่ต้องไม่แฉะมากนัก เพราะหากรดน้ำจนดินแฉะมาก พืชดูดน้ำไม่ใช้ไม่ทัน และอาจทำให้รากพืชเน่าและตายได้ในที่สุด สามารถปลูกไดกับดินทุกประเภท ที่มีความชื้นอยู่พอสมควร ควรให้ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยไนโตรเจน เพื่อเสริมให้เจริญงอกงามได้ดียิ่งขึ้น และให้ดอกที่สวยงาม
เรานิยมปลูกพวงชมพูเป็นไม้ประดับ โดยปลูกลงในกระถางตั้งที่มีหลักสำหรับเกาะยึดเลื้อยขึ้น หรือปลูกในกระถางแขนเพื่อให้ห้อยลง หรือปลูกประดับตามริมขอบหน้าต่างและระเบียงก็ดูสวยงามที่เดียว.
28.2.09
20.2.09
มะลิวัลย์
มะลิวัลย์
ดอกไม้ใบบ้านเรามีหลายชนิดทั้งไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้ยืนต้น ไม้น้ำ และไม้เลื้อย เราจะขอพูดเกี่ยวกับไม้เลื่อยที่นิยมปลูกในบ้านเรา ไม้เลื้อยในที่นี้ก็มีให้เลือกปลูกอีกนับไม่ถ้วยเหมือนกัน เนื่องจากดูแลรักษาง่าย ในกรณีที่คุณต้องคอยดูแลรักษาง่าย ในกรณีที่คุณต้องคอยดูแลรักษาเขาด้วยนะคะ ส่วนเรื่องของดอกนั้นก็สวยสดงดงามไม่แพ้ไม้ประดับชนิดอื่น ๆ เลยทีเดียว
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Jasminum adenophyllum., Wall
ตระกูล : OLEACEAE
ชื่อสามัญ : Scented stat jasmine, Climbing jasmine.
ชื่ออื่น : มะลิวัน, มะลิป่า
มะลิวัลย์ เป็นดอกไม้ไทยโบราณที่นิยมปลูกกันมาก มีกลิ่นหอมแรงในเวลากลางคืนมากกว่ากลางวัน ออกดอกขาวสะพรั่งทั้งต้น มีถิ่นกำเนิดจากประเทศจีน และประเทศอินเดีย เป็นไม้เถาเลื้อย เนื้อแข็ง ลำต้นหรือเถามีขนาดเล็ก กลม ผิวเกลี้ยง เถาส่วนที่อ่อนเป็นสีเขียว ส่วนเถาแก่มีสีน้ำตาลอ่อน สามารถเลื้อยพันต้นไม้อื่นไปได้ไกล ใบมีลักษณะเป็นคู่เรียงตามข้อต้น ยาวประมาณ 5 เซนติเมตร สีเขียวอมเหลือง รูปมนรีปลายแหลม ขอบใบเรียบ
มะลิวัลย์ ออกดอกเป็นช่อตามข้อของต้น ดอกสีขาวสะอาด ก้านดอกสีน้ำตาลอ่อน ยาวประมาณ 3 เซนติเมตร รูปร่างของดอกคล้ายกับดอกของมะลิลา ช่อหนึ่งจะออกดอกประมาณ 2 -6 ดอก กลีบดอกเรียวยาว โดยปกติแล้ว มะลิวัลย์เป็นพันธุ์ไม้ที่ออกดอกดก เมื่อเวลาออกดอกจึงดูขาว สะพรั่งไปทั้งต้นแลยังส่งกลิ่นหอมแรงไปในระยะไกลอีกด้วย ข้อเด่นของมะลิวัลย์อีกอย่างเห็นจะเป็นเรื่องของดอก เนื่องจากเป็นไม้เลื้อยที่ออกดอกตลอดทั้งปี จึงทำให้เป็นที่นิยมปลูกกันอย่างแพร่หลาย
การปลูกมะลิวัลย์
เราสามารถปลูกในกระถางได้ หากว่าพื้นที่บ้านของท่านไม่เพียงพอที่จะนำมะลิวัลย์ในกระถางลงดิน เพียงแต่ต้องหมั่นตัดกิ่งให้เป็นทรงพุ่ม เพื่อกันไม่ให้มะลิเลื้อยจนดูรกรุงรัง สำหรับบ้านที่มีเนื้อที่พอสมควร สามารถปลุกมะลิวัลย์เป็นไม้เลื้อยริมรั้วได้ เพียงแค่น้ำต้นมะลิวัลย์ลงดิน จากนั้นปล่อยให้เขาเลื้อยตามธรรมชาติ อาจมีการจัดแต่สงบ้างนิดหน่อย เพื่อความสวยงามหรือจะให้เลื้อยบนกำแพงก็ดูสวยดี
การดูแลรักษา
เนื่องจากมะลิวัลย์ เป็นไม้ที่ต้องการแดดจัด ดังนั้นควรปลูกในที่ ๆ มีแสงสว่างตลอดทั้งวัน ซึ่งจะช่วยให้ออกดอกได้ดี ควรรดน้ำแต่พอดี ไม่มากหรือน้อยเกินไป และไม่ควรให้ขาดน้ำอย่างเด็ดขาดมะลิวัลย์สามารถเจริญเติบโตได้ดีกับดินทุกชนิด แต่จะดีที่จุดคงเป็นดินร่วนซุยที่มีส่วนผสมของปุ๋ยหมัก และควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจน สัปดาห์ละ 2 ครั้ง จะช่วยให้ดอกสวยสดตลอดปีค่ะ
นับว่าเป็นไม้เลื้อยอีกชนิดหนึ่งที่น่าปลูกไว้ประดับกำแพงบ้านคุณ เนื่องจากดูแลรักษาง่าย ทั้งยังออกดอกสีขาวสะอาดตา ให้คุณได้สดชื่นตลอดทั้งปีอีกด้วย ได้ทราบกันอย่างนี้แล้วบองมองหาที่สำหรับปลูกมะลิที่บ้านคุณดูซิคะ รับรองว่าไม่ผิดหวังแน่นอนค่ะ
ดอกไม้ใบบ้านเรามีหลายชนิดทั้งไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้ยืนต้น ไม้น้ำ และไม้เลื้อย เราจะขอพูดเกี่ยวกับไม้เลื่อยที่นิยมปลูกในบ้านเรา ไม้เลื้อยในที่นี้ก็มีให้เลือกปลูกอีกนับไม่ถ้วยเหมือนกัน เนื่องจากดูแลรักษาง่าย ในกรณีที่คุณต้องคอยดูแลรักษาง่าย ในกรณีที่คุณต้องคอยดูแลรักษาเขาด้วยนะคะ ส่วนเรื่องของดอกนั้นก็สวยสดงดงามไม่แพ้ไม้ประดับชนิดอื่น ๆ เลยทีเดียว
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Jasminum adenophyllum., Wall
ตระกูล : OLEACEAE
ชื่อสามัญ : Scented stat jasmine, Climbing jasmine.
ชื่ออื่น : มะลิวัน, มะลิป่า
มะลิวัลย์ เป็นดอกไม้ไทยโบราณที่นิยมปลูกกันมาก มีกลิ่นหอมแรงในเวลากลางคืนมากกว่ากลางวัน ออกดอกขาวสะพรั่งทั้งต้น มีถิ่นกำเนิดจากประเทศจีน และประเทศอินเดีย เป็นไม้เถาเลื้อย เนื้อแข็ง ลำต้นหรือเถามีขนาดเล็ก กลม ผิวเกลี้ยง เถาส่วนที่อ่อนเป็นสีเขียว ส่วนเถาแก่มีสีน้ำตาลอ่อน สามารถเลื้อยพันต้นไม้อื่นไปได้ไกล ใบมีลักษณะเป็นคู่เรียงตามข้อต้น ยาวประมาณ 5 เซนติเมตร สีเขียวอมเหลือง รูปมนรีปลายแหลม ขอบใบเรียบ
มะลิวัลย์ ออกดอกเป็นช่อตามข้อของต้น ดอกสีขาวสะอาด ก้านดอกสีน้ำตาลอ่อน ยาวประมาณ 3 เซนติเมตร รูปร่างของดอกคล้ายกับดอกของมะลิลา ช่อหนึ่งจะออกดอกประมาณ 2 -6 ดอก กลีบดอกเรียวยาว โดยปกติแล้ว มะลิวัลย์เป็นพันธุ์ไม้ที่ออกดอกดก เมื่อเวลาออกดอกจึงดูขาว สะพรั่งไปทั้งต้นแลยังส่งกลิ่นหอมแรงไปในระยะไกลอีกด้วย ข้อเด่นของมะลิวัลย์อีกอย่างเห็นจะเป็นเรื่องของดอก เนื่องจากเป็นไม้เลื้อยที่ออกดอกตลอดทั้งปี จึงทำให้เป็นที่นิยมปลูกกันอย่างแพร่หลาย
การปลูกมะลิวัลย์
เราสามารถปลูกในกระถางได้ หากว่าพื้นที่บ้านของท่านไม่เพียงพอที่จะนำมะลิวัลย์ในกระถางลงดิน เพียงแต่ต้องหมั่นตัดกิ่งให้เป็นทรงพุ่ม เพื่อกันไม่ให้มะลิเลื้อยจนดูรกรุงรัง สำหรับบ้านที่มีเนื้อที่พอสมควร สามารถปลุกมะลิวัลย์เป็นไม้เลื้อยริมรั้วได้ เพียงแค่น้ำต้นมะลิวัลย์ลงดิน จากนั้นปล่อยให้เขาเลื้อยตามธรรมชาติ อาจมีการจัดแต่สงบ้างนิดหน่อย เพื่อความสวยงามหรือจะให้เลื้อยบนกำแพงก็ดูสวยดี
การดูแลรักษา
เนื่องจากมะลิวัลย์ เป็นไม้ที่ต้องการแดดจัด ดังนั้นควรปลูกในที่ ๆ มีแสงสว่างตลอดทั้งวัน ซึ่งจะช่วยให้ออกดอกได้ดี ควรรดน้ำแต่พอดี ไม่มากหรือน้อยเกินไป และไม่ควรให้ขาดน้ำอย่างเด็ดขาดมะลิวัลย์สามารถเจริญเติบโตได้ดีกับดินทุกชนิด แต่จะดีที่จุดคงเป็นดินร่วนซุยที่มีส่วนผสมของปุ๋ยหมัก และควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจน สัปดาห์ละ 2 ครั้ง จะช่วยให้ดอกสวยสดตลอดปีค่ะ
นับว่าเป็นไม้เลื้อยอีกชนิดหนึ่งที่น่าปลูกไว้ประดับกำแพงบ้านคุณ เนื่องจากดูแลรักษาง่าย ทั้งยังออกดอกสีขาวสะอาดตา ให้คุณได้สดชื่นตลอดทั้งปีอีกด้วย ได้ทราบกันอย่างนี้แล้วบองมองหาที่สำหรับปลูกมะลิที่บ้านคุณดูซิคะ รับรองว่าไม่ผิดหวังแน่นอนค่ะ
11.2.09
กัลปพฤกษ์
กัลปพฤกษ์
เป็นไม้ต้นผลัดใบขนาดกลางสูงประมาณ 12 เมตร เปลือกสีเทา เรือนยอดแผ่กว้างทุกส่วนมีขนปกคลุมหนาแน่น ใบเป็นประเภทในประกอบมีใบย่อย 5-7 คู่ ใบย่อยรูปขอบขนาน มีขนอ่อนทั้งหน้าและหลังใบ
ดอกสีชมพูเข้มออกเป็นช่อ ตามกิ่งแล้วเปลี่ยนเป็นสีขาว จะออกดอกหลังการผลัดใบพร้อมผลิใบใหม่ ผลเป็นฝักเมื่อฝักแก่จะออกสีน้ำตาลเข้ม ฝักยาวประมาณ 30-40 เซนติเมตร มีเมล็ดอยู่ประมาณ 30-40 เมล็ดต่อฝัก
ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน ชอบขึ้นตามป่าเขาหินปูน และป่าเบญจพรรณแล้งทั่วไป เป็นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย
ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด
เป็นไม้ต้นผลัดใบขนาดกลางสูงประมาณ 12 เมตร เปลือกสีเทา เรือนยอดแผ่กว้างทุกส่วนมีขนปกคลุมหนาแน่น ใบเป็นประเภทในประกอบมีใบย่อย 5-7 คู่ ใบย่อยรูปขอบขนาน มีขนอ่อนทั้งหน้าและหลังใบ
ดอกสีชมพูเข้มออกเป็นช่อ ตามกิ่งแล้วเปลี่ยนเป็นสีขาว จะออกดอกหลังการผลัดใบพร้อมผลิใบใหม่ ผลเป็นฝักเมื่อฝักแก่จะออกสีน้ำตาลเข้ม ฝักยาวประมาณ 30-40 เซนติเมตร มีเมล็ดอยู่ประมาณ 30-40 เมล็ดต่อฝัก
ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน ชอบขึ้นตามป่าเขาหินปูน และป่าเบญจพรรณแล้งทั่วไป เป็นไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย
ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด
กาฬพฤกษ์
กาฬพฤกษ์
เป็นต้นไม้ผลิดใบสูงประมาณ 20 เมตร โคนต้นมีพูพอน เรือนยอดเป็นพุ่มกลม เปลือกสีดำแตกเป็นร่องลึก ใบเป็นประเภทใบประกอบ จำนวน 10-20 คู่ ใบออ่นจะออกสีแดง ผิวใบเกลี้ยงเป็นมัน หลังใบมีขนนุ่ม โคนและปลายใบมนกลม
ออกดอกเป็นช่อตามกิ่งข้าง ช่อหนึ่งมีประมาณ 20 ดอก ดอกมีขนาดเล็ก กลีบรองดอกกลมมีขน ขณะที่ดอกบานกลีบจะกระดกกลับ กลีบดอกรูปไข่ เมื่อดอกบานใหม่ ๆ จะเป็นสีแดง จากนั้นจะเปลี่ยนเป็นสีชมพูและสีส้ม เกสรตัวผู้มี 10 อัน ขนาดไม่เท่ากัน ฝักแข็ง กลม ผิวขรุขระสีดำ ยาวประมาณ 30 เซนติเมตร กว้างประมาณ 3 เซนติเมตร มีเมล็ดอยู่ประมาณ 30 เมล็ด ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม
ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด
เป็นต้นไม้ผลิดใบสูงประมาณ 20 เมตร โคนต้นมีพูพอน เรือนยอดเป็นพุ่มกลม เปลือกสีดำแตกเป็นร่องลึก ใบเป็นประเภทใบประกอบ จำนวน 10-20 คู่ ใบออ่นจะออกสีแดง ผิวใบเกลี้ยงเป็นมัน หลังใบมีขนนุ่ม โคนและปลายใบมนกลม
ออกดอกเป็นช่อตามกิ่งข้าง ช่อหนึ่งมีประมาณ 20 ดอก ดอกมีขนาดเล็ก กลีบรองดอกกลมมีขน ขณะที่ดอกบานกลีบจะกระดกกลับ กลีบดอกรูปไข่ เมื่อดอกบานใหม่ ๆ จะเป็นสีแดง จากนั้นจะเปลี่ยนเป็นสีชมพูและสีส้ม เกสรตัวผู้มี 10 อัน ขนาดไม่เท่ากัน ฝักแข็ง กลม ผิวขรุขระสีดำ ยาวประมาณ 30 เซนติเมตร กว้างประมาณ 3 เซนติเมตร มีเมล็ดอยู่ประมาณ 30 เมล็ด ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม
ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด
9.2.09
ดอนย่า ความงามและคุณค่าสำหรับสามัญชน
ดอนย่า ความงามและคุณค่าสำหรับสามัญชน
มีไม้ดอกบางชนิดที่ผู้เขียนได้พบเห็นตั้งแต่ยังเด็ก คล้ายกับเป็นไม้ดอกที่คุ้นเคย เพราะได้พบเห็นอยู่บ่อย ๆ แต่ก็คล้ายกับห่างไกล เพราะไม่เคยนำมาปลูกเอาไว้เองเลยจนถึงปัจจุบัน รวมถึงชื่อและรูปทรงของต้น ตลอดจนดอกก็มีความแปลกเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง ความงามไม่ฉูดฉาดแต่มีเสน่ห์ติดตรึงใจจนได้รับการยกย่องเป็นอย่างสูงในบางประเทศ รวมทั้งในประเทศไทย ไม้ดอกชนิดนี้ก็คือ ดอนย่า
ดอนย่า : ดอกไม้งามนามแปลกจากต่างแดน
ดอนย่าที่นิยมปลูกเป็นไม้ดอกในปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ Massaenda erythophylla Schum & Thoun. และ Massaenda philippica A. Rich. อยู่ในวงศ์ Rubiaceae เช่นเดียวกับคัดเค้า และพุดซ้อน เป็นไม้พุ่มภาคกลางสูงราว 2 เมตร แตกกิ่งก้านสาขาเป็นพุ่มแผ่ขยายมาก
ใบ รูปร่างมนปลายแหลม กว้างราว 4 เซนติเมตร ยาว 6 – 8 เซนติเมตร ผิวใบมักมีขนอ่อนปกคลุม ใบค่อนข้างดกทึบ
ดอก มีขนาดเล็กสีเหลือง สำหรับกลีบดอก ขนาดใหญ่ที่เห็นเป็นสีต่าง ๆ นั้น แท้จริงเป็นใบที่เปลี่ยนรูปเป็นคล้ายกลีบดอก เช่นเดียวกับเฟื่องฟ้า ลักษณะดอกของดอนย่าเป็นช่อออกเต็มต้น
ดอนย่าดอกสีแดง มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Trining เป็นชนิด Massaenda erythoplylla Schum & Thoun มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา
ดอนย่าดอกสีขาว มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Aurora เป็นชนิด Massaenda philippica A. Rich. มีถิ่นกำเนิดในฟิลิปปินส์
ดอนย่าดอกสีชมพู มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Luz เป็นชนิด Massaenda Hybrid คือเป็นลูกผสมระหว่าง Dona Trining และ Dona Aurora ในประเทศไทยเรียกดินย่าดอกสีชมพูนี้ว่า ดอนย่าแม็กไซไซ
ดอนย่าเป็นดอกซึ่งเป็นที่นิยมอย่างสูงในประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นไม้ดอกที่ขอพระราชทานพระนามสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ของไทยไปเป็นชื่อของดอนย่า ที่ผสมขึ้นใหม่พันธุ์หนึ่งซึ่งมีความงดงามมาก กลีบดอกซ้อนสีชมพูอ่อนเกือบเป็นสีขาว มีขลิบสีแดงตามขอบนอกของกลีบดอก ดอนย่าพันธุ์นี้ได้รับพระราชทานชื่อว่า “ควีนสิริกิตต์ (Queen Sirikit) มีชื่อเสียงไปทั่วโลก
มีดอกไม้เพียง 3 ชนิดเท่านั้นในปัจจุบันที่ได้รับพระราชทานว่า “Queen Sirikit ”
นอกจากดอนย่าแล้วก็มีกุหลาบ และกล้วยไม้แคทลียา เท่านั้น
ดอนย่าจึงนับเป็นดอกไม้ที่ได้รับเกียรติเป็นอย่างสูงในหมู่ชาวไทย ซึ่งยกย่องและชื่นชมในพระสิริโฉม ของสมเด็จพระบรมราชินีนาถของตนยิ่งกว่าชนชาติใด การที่สามัญชนคนไทยมีโอกาสเท่าเทียมกันในการปลูกดอนย่าพันธุ์ “Queen Sirikit ” เอาไว้ในบริเวณบ้าน ซึ่งได้ทั้งความงาม และคุณค่าแห่งพระนาม “แม้แห่งชาติ” ไปพร้อม ๆ กัน
ดอกย่า
ความงามและคุณค่าสำหรับสามัญชน
มีไม้ดอกบางชนิดที่ผู้เขียนได้พบเห็นตั้งแต่ยังเด็ก คล้ายกับเป็นไม้ดอกที่คุ้นเคย เพราะได้พบเห็นอยู่บ่อย ๆ แต่ก็คล้ายกับห่างไกล เพราะไม่เคยนำมาปลูกเอาไว้เองเลยจนถึงปัจจุบัน รวมถึงชื่อและรูปทรงของต้น ตลอดจนดอกก็มีความแปลกเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง ความงามไม่ฉูดฉาดแต่มีเสน่ห์ติดตรึงใจจนได้รับการยกย่องเป็นอย่างสูงในบางประเทศ รวมทั้งในประเทศไทย ไม้ดอกชนิดนี้ก็คือ ดอนย่า
ดอนย่า : ดอกไม้งามนามแปลกจากต่างแดน
ดอนย่าที่นิยมปลูกเป็นไม้ดอกในปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ Massaenda erythophylla Schum & Thoun. และ Massaenda philippica A. Rich. อยู่ในวงศ์ Rubiaceae เช่นเดียวกับคัดเค้า และพุดซ้อน เป็นไม้พุ่มภาคกลางสูงราว 2 เมตร แตกกิ่งก้านสาขาเป็นพุ่มแผ่ขยายมาก
ใบ รูปร่างมนปลายแหลม กว้างราว 4 เซนติเมตร ยาว 6 – 8 เซนติเมตร ผิวใบมักมีขนอ่อนปกคลุม ใบค่อนข้างดกทึบ
ดอก มีขนาดเล็กสีเหลือง สำหรับกลีบดอก ขนาดใหญ่ที่เห็นเป็นสีต่าง ๆ นั้น แท้จริงเป็นใบที่เปลี่ยนรูปเป็นคล้ายกลีบดอก เช่นเดียวกับเฟื่องฟ้า ลักษณะดอกของดอนย่าเป็นช่อออกเต็มต้น
ดอนย่าดอกสีแดง มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Trining เป็นชนิด Massaenda erythoplylla Schum & Thoun มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา
ดอนย่าดอกสีขาว มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Aurora เป็นชนิด Massaenda philippica A. Rich. มีถิ่นกำเนิดในฟิลิปปินส์
ดอนย่าดอกสีชมพู มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Luz เป็นชนิด Massaenda Hybrid คือเป็นลูกผสมระหว่าง Dona Trining และ Dona Aurora ในประเทศไทยเรียกดินย่าดอกสีชมพูนี้ว่า ดอนย่าแม็กไซไซ
ดอนย่าเป็นดอกซึ่งเป็นที่นิยมอย่างสูงในประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นไม้ดอกที่ขอพระราชทานพระนามสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ของไทยไปเป็นชื่อของดอนย่า ที่ผสมขึ้นใหม่พันธุ์หนึ่งซึ่งมีความงดงามมาก กลีบดอกซ้อนสีชมพูอ่อนเกือบเป็นสีขาว มีขลิบสีแดงตามขอบนอกของกลีบดอก ดอนย่าพันธุ์นี้ได้รับพระราชทานชื่อว่า “ควีนสิริกิตต์ (Queen Sirikit) มีชื่อเสียงไปทั่วโลก
มีดอกไม้เพียง 3 ชนิดเท่านั้นในปัจจุบันที่ได้รับพระราชทานว่า “Queen Sirikit ”
นอกจากดอนย่าแล้วก็มีกุหลาบ และกล้วยไม้แคทลียา เท่านั้น
ดอนย่าจึงนับเป็นดอกไม้ที่ได้รับเกียรติเป็นอย่างสูงในหมู่ชาวไทย ซึ่งยกย่องและชื่นชมในพระสิริโฉม ของสมเด็จพระบรมราชินีนาถของตนยิ่งกว่าชนชาติใด การที่สามัญชนคนไทยมีโอกาสเท่าเทียมกันในการปลูกดอนย่าพันธุ์ “Queen Sirikit ” เอาไว้ในบริเวณบ้าน ซึ่งได้ทั้งความงาม และคุณค่าแห่งพระนาม “แม้แห่งชาติ” ไปพร้อม ๆ กัน
ดอกย่า
ความงามและคุณค่าสำหรับสามัญชน
มีไม้ดอกบางชนิดที่ผู้เขียนได้พบเห็นตั้งแต่ยังเด็ก คล้ายกับเป็นไม้ดอกที่คุ้นเคย เพราะได้พบเห็นอยู่บ่อย ๆ แต่ก็คล้ายกับห่างไกล เพราะไม่เคยนำมาปลูกเอาไว้เองเลยจนถึงปัจจุบัน รวมถึงชื่อและรูปทรงของต้น ตลอดจนดอกก็มีความแปลกเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง ความงามไม่ฉูดฉาดแต่มีเสน่ห์ติดตรึงใจจนได้รับการยกย่องเป็นอย่างสูงในบางประเทศ รวมทั้งในประเทศไทย ไม้ดอกชนิดนี้ก็คือ ดอนย่า
ดอนย่า : ดอกไม้งามนามแปลกจากต่างแดน
ดอนย่าที่นิยมปลูกเป็นไม้ดอกในปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ Massaenda erythophylla Schum & Thoun. และ Massaenda philippica A. Rich. อยู่ในวงศ์ Rubiaceae เช่นเดียวกับคัดเค้า และพุดซ้อน เป็นไม้พุ่มภาคกลางสูงราว 2 เมตร แตกกิ่งก้านสาขาเป็นพุ่มแผ่ขยายมาก
ใบ รูปร่างมนปลายแหลม กว้างราว 4 เซนติเมตร ยาว 6 – 8 เซนติเมตร ผิวใบมักมีขนอ่อนปกคลุม ใบค่อนข้างดกทึบ
ดอก มีขนาดเล็กสีเหลือง สำหรับกลีบดอก ขนาดใหญ่ที่เห็นเป็นสีต่าง ๆ นั้น แท้จริงเป็นใบที่เปลี่ยนรูปเป็นคล้ายกลีบดอก เช่นเดียวกับเฟื่องฟ้า ลักษณะดอกของดอนย่าเป็นช่อออกเต็มต้น
ดอนย่าดอกสีแดง มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Trining เป็นชนิด Massaenda erythoplylla Schum & Thoun มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา
ดอนย่าดอกสีขาว มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Aurora เป็นชนิด Massaenda philippica A. Rich. มีถิ่นกำเนิดในฟิลิปปินส์
ดอนย่าดอกสีชมพู มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Luz เป็นชนิด Massaenda Hybrid คือเป็นลูกผสมระหว่าง Dona Trining และ Dona Aurora ในประเทศไทยเรียกดินย่าดอกสีชมพูนี้ว่า ดอนย่าแม็กไซไซ
ดอนย่าเป็นดอกซึ่งเป็นที่นิยมอย่างสูงในประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นไม้ดอกที่ขอพระราชทานพระนามสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ของไทยไปเป็นชื่อของดอนย่า ที่ผสมขึ้นใหม่พันธุ์หนึ่งซึ่งมีความงดงามมาก กลีบดอกซ้อนสีชมพูอ่อนเกือบเป็นสีขาว มีขลิบสีแดงตามขอบนอกของกลีบดอก ดอนย่าพันธุ์นี้ได้รับพระราชทานชื่อว่า “ควีนสิริกิตต์ (Queen Sirikit) มีชื่อเสียงไปทั่วโลก
มีดอกไม้เพียง 3 ชนิดเท่านั้นในปัจจุบันที่ได้รับพระราชทานว่า “Queen Sirikit ”
นอกจากดอนย่าแล้วก็มีกุหลาบ และกล้วยไม้แคทลียา เท่านั้น
ดอนย่าจึงนับเป็นดอกไม้ที่ได้รับเกียรติเป็นอย่างสูงในหมู่ชาวไทย ซึ่งยกย่องและชื่นชมในพระสิริโฉม ของสมเด็จพระบรมราชินีนาถของตนยิ่งกว่าชนชาติใด การที่สามัญชนคนไทยมีโอกาสเท่าเทียมกันในการปลูกดอนย่าพันธุ์ “Queen Sirikit ” เอาไว้ในบริเวณบ้าน ซึ่งได้ทั้งความงาม และคุณค่าแห่งพระนาม “แม้แห่งชาติ” ไปพร้อม ๆ กัน
ดอกย่า
ความงามและคุณค่าสำหรับสามัญชน
มีไม้ดอกบางชนิดที่ผู้เขียนได้พบเห็นตั้งแต่ยังเด็ก คล้ายกับเป็นไม้ดอกที่คุ้นเคย เพราะได้พบเห็นอยู่บ่อย ๆ แต่ก็คล้ายกับห่างไกล เพราะไม่เคยนำมาปลูกเอาไว้เองเลยจนถึงปัจจุบัน รวมถึงชื่อและรูปทรงของต้น ตลอดจนดอกก็มีความแปลกเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง ความงามไม่ฉูดฉาดแต่มีเสน่ห์ติดตรึงใจจนได้รับการยกย่องเป็นอย่างสูงในบางประเทศ รวมทั้งในประเทศไทย ไม้ดอกชนิดนี้ก็คือ ดอนย่า
ดอนย่า : ดอกไม้งามนามแปลกจากต่างแดน
ดอนย่าที่นิยมปลูกเป็นไม้ดอกในปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ Massaenda erythophylla Schum & Thoun. และ Massaenda philippica A. Rich. อยู่ในวงศ์ Rubiaceae เช่นเดียวกับคัดเค้า และพุดซ้อน เป็นไม้พุ่มภาคกลางสูงราว 2 เมตร แตกกิ่งก้านสาขาเป็นพุ่มแผ่ขยายมาก
ใบ รูปร่างมนปลายแหลม กว้างราว 4 เซนติเมตร ยาว 6 – 8 เซนติเมตร ผิวใบมักมีขนอ่อนปกคลุม ใบค่อนข้างดกทึบ
ดอก มีขนาดเล็กสีเหลือง สำหรับกลีบดอก ขนาดใหญ่ที่เห็นเป็นสีต่าง ๆ นั้น แท้จริงเป็นใบที่เปลี่ยนรูปเป็นคล้ายกลีบดอก เช่นเดียวกับเฟื่องฟ้า ลักษณะดอกของดอนย่าเป็นช่อออกเต็มต้น
ดอนย่าดอกสีแดง มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Trining เป็นชนิด Massaenda erythoplylla Schum & Thoun มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา
ดอนย่าดอกสีขาว มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Aurora เป็นชนิด Massaenda philippica A. Rich. มีถิ่นกำเนิดในฟิลิปปินส์
ดอนย่าดอกสีชมพู มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Luz เป็นชนิด Massaenda Hybrid คือเป็นลูกผสมระหว่าง Dona Trining และ Dona Aurora ในประเทศไทยเรียกดินย่าดอกสีชมพูนี้ว่า ดอนย่าแม็กไซไซ
ดอนย่าเป็นดอกซึ่งเป็นที่นิยมอย่างสูงในประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นไม้ดอกที่ขอพระราชทานพระนามสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ของไทยไปเป็นชื่อของดอนย่า ที่ผสมขึ้นใหม่พันธุ์หนึ่งซึ่งมีความงดงามมาก กลีบดอกซ้อนสีชมพูอ่อนเกือบเป็นสีขาว มีขลิบสีแดงตามขอบนอกของกลีบดอก ดอนย่าพันธุ์นี้ได้รับพระราชทานชื่อว่า “ควีนสิริกิตต์ (Queen Sirikit) มีชื่อเสียงไปทั่วโลก
มีดอกไม้เพียง 3 ชนิดเท่านั้นในปัจจุบันที่ได้รับพระราชทานว่า “Queen Sirikit ”
นอกจากดอนย่าแล้วก็มีกุหลาบ และกล้วยไม้แคทลียา เท่านั้น
ดอนย่าจึงนับเป็นดอกไม้ที่ได้รับเกียรติเป็นอย่างสูงในหมู่ชาวไทย ซึ่งยกย่องและชื่นชมในพระสิริโฉม ของสมเด็จพระบรมราชินีนาถของตนยิ่งกว่าชนชาติใด การที่สามัญชนคนไทยมีโอกาสเท่าเทียมกันในการปลูกดอนย่าพันธุ์ “Queen Sirikit ” เอาไว้ในบริเวณบ้าน ซึ่งได้ทั้งความงาม และคุณค่าแห่งพระนาม “แม้แห่งชาติ” ไปพร้อม ๆ กัน
มีไม้ดอกบางชนิดที่ผู้เขียนได้พบเห็นตั้งแต่ยังเด็ก คล้ายกับเป็นไม้ดอกที่คุ้นเคย เพราะได้พบเห็นอยู่บ่อย ๆ แต่ก็คล้ายกับห่างไกล เพราะไม่เคยนำมาปลูกเอาไว้เองเลยจนถึงปัจจุบัน รวมถึงชื่อและรูปทรงของต้น ตลอดจนดอกก็มีความแปลกเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง ความงามไม่ฉูดฉาดแต่มีเสน่ห์ติดตรึงใจจนได้รับการยกย่องเป็นอย่างสูงในบางประเทศ รวมทั้งในประเทศไทย ไม้ดอกชนิดนี้ก็คือ ดอนย่า
ดอนย่า : ดอกไม้งามนามแปลกจากต่างแดน
ดอนย่าที่นิยมปลูกเป็นไม้ดอกในปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ Massaenda erythophylla Schum & Thoun. และ Massaenda philippica A. Rich. อยู่ในวงศ์ Rubiaceae เช่นเดียวกับคัดเค้า และพุดซ้อน เป็นไม้พุ่มภาคกลางสูงราว 2 เมตร แตกกิ่งก้านสาขาเป็นพุ่มแผ่ขยายมาก
ใบ รูปร่างมนปลายแหลม กว้างราว 4 เซนติเมตร ยาว 6 – 8 เซนติเมตร ผิวใบมักมีขนอ่อนปกคลุม ใบค่อนข้างดกทึบ
ดอก มีขนาดเล็กสีเหลือง สำหรับกลีบดอก ขนาดใหญ่ที่เห็นเป็นสีต่าง ๆ นั้น แท้จริงเป็นใบที่เปลี่ยนรูปเป็นคล้ายกลีบดอก เช่นเดียวกับเฟื่องฟ้า ลักษณะดอกของดอนย่าเป็นช่อออกเต็มต้น
ดอนย่าดอกสีแดง มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Trining เป็นชนิด Massaenda erythoplylla Schum & Thoun มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา
ดอนย่าดอกสีขาว มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Aurora เป็นชนิด Massaenda philippica A. Rich. มีถิ่นกำเนิดในฟิลิปปินส์
ดอนย่าดอกสีชมพู มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Luz เป็นชนิด Massaenda Hybrid คือเป็นลูกผสมระหว่าง Dona Trining และ Dona Aurora ในประเทศไทยเรียกดินย่าดอกสีชมพูนี้ว่า ดอนย่าแม็กไซไซ
ดอนย่าเป็นดอกซึ่งเป็นที่นิยมอย่างสูงในประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นไม้ดอกที่ขอพระราชทานพระนามสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ของไทยไปเป็นชื่อของดอนย่า ที่ผสมขึ้นใหม่พันธุ์หนึ่งซึ่งมีความงดงามมาก กลีบดอกซ้อนสีชมพูอ่อนเกือบเป็นสีขาว มีขลิบสีแดงตามขอบนอกของกลีบดอก ดอนย่าพันธุ์นี้ได้รับพระราชทานชื่อว่า “ควีนสิริกิตต์ (Queen Sirikit) มีชื่อเสียงไปทั่วโลก
มีดอกไม้เพียง 3 ชนิดเท่านั้นในปัจจุบันที่ได้รับพระราชทานว่า “Queen Sirikit ”
นอกจากดอนย่าแล้วก็มีกุหลาบ และกล้วยไม้แคทลียา เท่านั้น
ดอนย่าจึงนับเป็นดอกไม้ที่ได้รับเกียรติเป็นอย่างสูงในหมู่ชาวไทย ซึ่งยกย่องและชื่นชมในพระสิริโฉม ของสมเด็จพระบรมราชินีนาถของตนยิ่งกว่าชนชาติใด การที่สามัญชนคนไทยมีโอกาสเท่าเทียมกันในการปลูกดอนย่าพันธุ์ “Queen Sirikit ” เอาไว้ในบริเวณบ้าน ซึ่งได้ทั้งความงาม และคุณค่าแห่งพระนาม “แม้แห่งชาติ” ไปพร้อม ๆ กัน
ดอกย่า
ความงามและคุณค่าสำหรับสามัญชน
มีไม้ดอกบางชนิดที่ผู้เขียนได้พบเห็นตั้งแต่ยังเด็ก คล้ายกับเป็นไม้ดอกที่คุ้นเคย เพราะได้พบเห็นอยู่บ่อย ๆ แต่ก็คล้ายกับห่างไกล เพราะไม่เคยนำมาปลูกเอาไว้เองเลยจนถึงปัจจุบัน รวมถึงชื่อและรูปทรงของต้น ตลอดจนดอกก็มีความแปลกเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง ความงามไม่ฉูดฉาดแต่มีเสน่ห์ติดตรึงใจจนได้รับการยกย่องเป็นอย่างสูงในบางประเทศ รวมทั้งในประเทศไทย ไม้ดอกชนิดนี้ก็คือ ดอนย่า
ดอนย่า : ดอกไม้งามนามแปลกจากต่างแดน
ดอนย่าที่นิยมปลูกเป็นไม้ดอกในปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ Massaenda erythophylla Schum & Thoun. และ Massaenda philippica A. Rich. อยู่ในวงศ์ Rubiaceae เช่นเดียวกับคัดเค้า และพุดซ้อน เป็นไม้พุ่มภาคกลางสูงราว 2 เมตร แตกกิ่งก้านสาขาเป็นพุ่มแผ่ขยายมาก
ใบ รูปร่างมนปลายแหลม กว้างราว 4 เซนติเมตร ยาว 6 – 8 เซนติเมตร ผิวใบมักมีขนอ่อนปกคลุม ใบค่อนข้างดกทึบ
ดอก มีขนาดเล็กสีเหลือง สำหรับกลีบดอก ขนาดใหญ่ที่เห็นเป็นสีต่าง ๆ นั้น แท้จริงเป็นใบที่เปลี่ยนรูปเป็นคล้ายกลีบดอก เช่นเดียวกับเฟื่องฟ้า ลักษณะดอกของดอนย่าเป็นช่อออกเต็มต้น
ดอนย่าดอกสีแดง มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Trining เป็นชนิด Massaenda erythoplylla Schum & Thoun มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา
ดอนย่าดอกสีขาว มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Aurora เป็นชนิด Massaenda philippica A. Rich. มีถิ่นกำเนิดในฟิลิปปินส์
ดอนย่าดอกสีชมพู มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Luz เป็นชนิด Massaenda Hybrid คือเป็นลูกผสมระหว่าง Dona Trining และ Dona Aurora ในประเทศไทยเรียกดินย่าดอกสีชมพูนี้ว่า ดอนย่าแม็กไซไซ
ดอนย่าเป็นดอกซึ่งเป็นที่นิยมอย่างสูงในประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นไม้ดอกที่ขอพระราชทานพระนามสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ของไทยไปเป็นชื่อของดอนย่า ที่ผสมขึ้นใหม่พันธุ์หนึ่งซึ่งมีความงดงามมาก กลีบดอกซ้อนสีชมพูอ่อนเกือบเป็นสีขาว มีขลิบสีแดงตามขอบนอกของกลีบดอก ดอนย่าพันธุ์นี้ได้รับพระราชทานชื่อว่า “ควีนสิริกิตต์ (Queen Sirikit) มีชื่อเสียงไปทั่วโลก
มีดอกไม้เพียง 3 ชนิดเท่านั้นในปัจจุบันที่ได้รับพระราชทานว่า “Queen Sirikit ”
นอกจากดอนย่าแล้วก็มีกุหลาบ และกล้วยไม้แคทลียา เท่านั้น
ดอนย่าจึงนับเป็นดอกไม้ที่ได้รับเกียรติเป็นอย่างสูงในหมู่ชาวไทย ซึ่งยกย่องและชื่นชมในพระสิริโฉม ของสมเด็จพระบรมราชินีนาถของตนยิ่งกว่าชนชาติใด การที่สามัญชนคนไทยมีโอกาสเท่าเทียมกันในการปลูกดอนย่าพันธุ์ “Queen Sirikit ” เอาไว้ในบริเวณบ้าน ซึ่งได้ทั้งความงาม และคุณค่าแห่งพระนาม “แม้แห่งชาติ” ไปพร้อม ๆ กัน
ดอกย่า
ความงามและคุณค่าสำหรับสามัญชน
มีไม้ดอกบางชนิดที่ผู้เขียนได้พบเห็นตั้งแต่ยังเด็ก คล้ายกับเป็นไม้ดอกที่คุ้นเคย เพราะได้พบเห็นอยู่บ่อย ๆ แต่ก็คล้ายกับห่างไกล เพราะไม่เคยนำมาปลูกเอาไว้เองเลยจนถึงปัจจุบัน รวมถึงชื่อและรูปทรงของต้น ตลอดจนดอกก็มีความแปลกเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง ความงามไม่ฉูดฉาดแต่มีเสน่ห์ติดตรึงใจจนได้รับการยกย่องเป็นอย่างสูงในบางประเทศ รวมทั้งในประเทศไทย ไม้ดอกชนิดนี้ก็คือ ดอนย่า
ดอนย่า : ดอกไม้งามนามแปลกจากต่างแดน
ดอนย่าที่นิยมปลูกเป็นไม้ดอกในปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ Massaenda erythophylla Schum & Thoun. และ Massaenda philippica A. Rich. อยู่ในวงศ์ Rubiaceae เช่นเดียวกับคัดเค้า และพุดซ้อน เป็นไม้พุ่มภาคกลางสูงราว 2 เมตร แตกกิ่งก้านสาขาเป็นพุ่มแผ่ขยายมาก
ใบ รูปร่างมนปลายแหลม กว้างราว 4 เซนติเมตร ยาว 6 – 8 เซนติเมตร ผิวใบมักมีขนอ่อนปกคลุม ใบค่อนข้างดกทึบ
ดอก มีขนาดเล็กสีเหลือง สำหรับกลีบดอก ขนาดใหญ่ที่เห็นเป็นสีต่าง ๆ นั้น แท้จริงเป็นใบที่เปลี่ยนรูปเป็นคล้ายกลีบดอก เช่นเดียวกับเฟื่องฟ้า ลักษณะดอกของดอนย่าเป็นช่อออกเต็มต้น
ดอนย่าดอกสีแดง มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Trining เป็นชนิด Massaenda erythoplylla Schum & Thoun มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา
ดอนย่าดอกสีขาว มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Aurora เป็นชนิด Massaenda philippica A. Rich. มีถิ่นกำเนิดในฟิลิปปินส์
ดอนย่าดอกสีชมพู มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Luz เป็นชนิด Massaenda Hybrid คือเป็นลูกผสมระหว่าง Dona Trining และ Dona Aurora ในประเทศไทยเรียกดินย่าดอกสีชมพูนี้ว่า ดอนย่าแม็กไซไซ
ดอนย่าเป็นดอกซึ่งเป็นที่นิยมอย่างสูงในประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นไม้ดอกที่ขอพระราชทานพระนามสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ของไทยไปเป็นชื่อของดอนย่า ที่ผสมขึ้นใหม่พันธุ์หนึ่งซึ่งมีความงดงามมาก กลีบดอกซ้อนสีชมพูอ่อนเกือบเป็นสีขาว มีขลิบสีแดงตามขอบนอกของกลีบดอก ดอนย่าพันธุ์นี้ได้รับพระราชทานชื่อว่า “ควีนสิริกิตต์ (Queen Sirikit) มีชื่อเสียงไปทั่วโลก
มีดอกไม้เพียง 3 ชนิดเท่านั้นในปัจจุบันที่ได้รับพระราชทานว่า “Queen Sirikit ”
นอกจากดอนย่าแล้วก็มีกุหลาบ และกล้วยไม้แคทลียา เท่านั้น
ดอนย่าจึงนับเป็นดอกไม้ที่ได้รับเกียรติเป็นอย่างสูงในหมู่ชาวไทย ซึ่งยกย่องและชื่นชมในพระสิริโฉม ของสมเด็จพระบรมราชินีนาถของตนยิ่งกว่าชนชาติใด การที่สามัญชนคนไทยมีโอกาสเท่าเทียมกันในการปลูกดอนย่าพันธุ์ “Queen Sirikit ” เอาไว้ในบริเวณบ้าน ซึ่งได้ทั้งความงาม และคุณค่าแห่งพระนาม “แม้แห่งชาติ” ไปพร้อม ๆ กัน
ดอกย่า
ความงามและคุณค่าสำหรับสามัญชน
มีไม้ดอกบางชนิดที่ผู้เขียนได้พบเห็นตั้งแต่ยังเด็ก คล้ายกับเป็นไม้ดอกที่คุ้นเคย เพราะได้พบเห็นอยู่บ่อย ๆ แต่ก็คล้ายกับห่างไกล เพราะไม่เคยนำมาปลูกเอาไว้เองเลยจนถึงปัจจุบัน รวมถึงชื่อและรูปทรงของต้น ตลอดจนดอกก็มีความแปลกเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง ความงามไม่ฉูดฉาดแต่มีเสน่ห์ติดตรึงใจจนได้รับการยกย่องเป็นอย่างสูงในบางประเทศ รวมทั้งในประเทศไทย ไม้ดอกชนิดนี้ก็คือ ดอนย่า
ดอนย่า : ดอกไม้งามนามแปลกจากต่างแดน
ดอนย่าที่นิยมปลูกเป็นไม้ดอกในปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ Massaenda erythophylla Schum & Thoun. และ Massaenda philippica A. Rich. อยู่ในวงศ์ Rubiaceae เช่นเดียวกับคัดเค้า และพุดซ้อน เป็นไม้พุ่มภาคกลางสูงราว 2 เมตร แตกกิ่งก้านสาขาเป็นพุ่มแผ่ขยายมาก
ใบ รูปร่างมนปลายแหลม กว้างราว 4 เซนติเมตร ยาว 6 – 8 เซนติเมตร ผิวใบมักมีขนอ่อนปกคลุม ใบค่อนข้างดกทึบ
ดอก มีขนาดเล็กสีเหลือง สำหรับกลีบดอก ขนาดใหญ่ที่เห็นเป็นสีต่าง ๆ นั้น แท้จริงเป็นใบที่เปลี่ยนรูปเป็นคล้ายกลีบดอก เช่นเดียวกับเฟื่องฟ้า ลักษณะดอกของดอนย่าเป็นช่อออกเต็มต้น
ดอนย่าดอกสีแดง มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Trining เป็นชนิด Massaenda erythoplylla Schum & Thoun มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา
ดอนย่าดอกสีขาว มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Aurora เป็นชนิด Massaenda philippica A. Rich. มีถิ่นกำเนิดในฟิลิปปินส์
ดอนย่าดอกสีชมพู มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Dona Luz เป็นชนิด Massaenda Hybrid คือเป็นลูกผสมระหว่าง Dona Trining และ Dona Aurora ในประเทศไทยเรียกดินย่าดอกสีชมพูนี้ว่า ดอนย่าแม็กไซไซ
ดอนย่าเป็นดอกซึ่งเป็นที่นิยมอย่างสูงในประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นไม้ดอกที่ขอพระราชทานพระนามสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ของไทยไปเป็นชื่อของดอนย่า ที่ผสมขึ้นใหม่พันธุ์หนึ่งซึ่งมีความงดงามมาก กลีบดอกซ้อนสีชมพูอ่อนเกือบเป็นสีขาว มีขลิบสีแดงตามขอบนอกของกลีบดอก ดอนย่าพันธุ์นี้ได้รับพระราชทานชื่อว่า “ควีนสิริกิตต์ (Queen Sirikit) มีชื่อเสียงไปทั่วโลก
มีดอกไม้เพียง 3 ชนิดเท่านั้นในปัจจุบันที่ได้รับพระราชทานว่า “Queen Sirikit ”
นอกจากดอนย่าแล้วก็มีกุหลาบ และกล้วยไม้แคทลียา เท่านั้น
ดอนย่าจึงนับเป็นดอกไม้ที่ได้รับเกียรติเป็นอย่างสูงในหมู่ชาวไทย ซึ่งยกย่องและชื่นชมในพระสิริโฉม ของสมเด็จพระบรมราชินีนาถของตนยิ่งกว่าชนชาติใด การที่สามัญชนคนไทยมีโอกาสเท่าเทียมกันในการปลูกดอนย่าพันธุ์ “Queen Sirikit ” เอาไว้ในบริเวณบ้าน ซึ่งได้ทั้งความงาม และคุณค่าแห่งพระนาม “แม้แห่งชาติ” ไปพร้อม ๆ กัน
Subscribe to:
Posts (Atom)